วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2552

Top Ten Tools for E-learning 2008

The top ten most frequently mentioned on 2008 lists by other teachers, instructional designers and online learning specialists are:

Skype – host IM chat, conference and international calls
Del.icio.us - store, tag and share bookmarks online, valuable resource for finding others’ favorite sites
GoogleDocs - write documents to share, store, present and access from anywhere via the web (no more emailing drafts); import docs from MS Office and Open Office
Google Reader - aggregate and read all your news and blog feeds in this free web-based reader
Audacity- record podcasts and edit audio files
Google Search – research topics with this highly-regarded and powerful Web searching tool
Camtasia - record your computer screen to create training videos or screencasts
Articulate – create tutorials and quizzes with three tools – Presenter converts PowerPoints to Flash tutorials with narration, Engage adds interactivity, and Quizmaker creates Flash-based tests and surveys
Captivate - create flash cards and interactive simulations for self-paced online learning
SnagIt - capture, edit and print screen images and make a video of on-screen actions

Source: Tech Tips for Educators (http://www.uwstout.edu/soe/profdev/blog/2008/01/experts-top-ten-e-learning-tools-for.html)

วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2552

การใช้ Wiki ในการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง

e-Pro รุ่น 3

ชื่อผู้ร่วมกลุ่ม
สุจิต แสงวิโรจนพัฒน์
บุหงา โปซิว


1. ความหมายของ Wiki

Wiki คือซอฟต์แวร์(Software) ในรูปแบบเว็บ (Web Application) ที่อนุญาตให้ผู้เข้าชมสามารถแก้ไขเนื้อหาบนเว็บได้ในขณะที่กำลังออนไลน์ (Online) อยู่บนเบราว์เซอร์(Browser)

วิกิ(Wiki) ตัวแรกชื่อว่า WikiWikiWeb สร้างโดย วอร์ด คันนิงแฮม(Ward Cunningham) เมื่อพ.ศ.2537 สำหรับโครงการ Portland Pattern Repository ของเขา โดยได้เขียนโปรแกรมขึ้นด้วยภาษาเพิร์ล(Perl) และติดตั้งลงที่เว็บ c2.com โดยชื่อของ วิกิ นั้นมาจากชื่อรถประจำทางสาย "วิกิ วิกิ" (Wiki Wiki) ของระบบรถขนส่งแชนซ์ อาร์ที-52 ที่สนามบินฮอโนลูลูในรัฐฮาวาย คำว่าวิกิในภาษาฮาวาย มีความหมายว่าเร็ว ดังนั้นคำว่า "วิกิวิกิ" หมายถึง "เร็วเร็ว" นั่นเอง

ระบบวิกิเริ่มเป็นที่รู้จักภายหลังจากที่สารานุกรมวิกิพีเดียได้นำมาใช้ ซึ่งต่อมาได้มีหน่วยงานหลายส่วนได้นำระบบวิกิมาใช้ไม่ว่าในการจัดการเอกสาร การติดต่อสื่อสาร หรือแม้แต่การร่วมเขียนโปรแกรม

เว็บไซด์ http://www.webopedia.com/ ได้ให้ความหมายของ Wiki ว่า เป็นเว็บไซด์ที่ร่วมกันทำโดยผู้เขียนหลายๆคน มีรูปแบบ คล้ายกับ blog ซึ่งมีผู้เขียนเพียงคนเดียว แต่สำหรับ Wiki ผู้เขียนหลายๆคนสามารถช่วยกัน เขียน แก้ไข ลบ หรือขยายความ ข้อความที่อยู่บนเว็บไซด์ได้โดยใช้การติดต่อปฎิสัมพันธ์กันด้วยโปรแกรมเบราว์เซอร์

เว็บไซด์ http://www.wiki.org/ ได้ให้ความหมายของ Wiki ว่า เป็นซอพท์แวร์ server ที่ยอมให้ผู้ใช้หลายๆคนสามารถสร้างและแก้ไขเนื้อหาบนเว็บไซด์ได้โดยเสรีโดยใช้ web browser นอกจากนี้ Wiki ยังสนับสนุน hyperlinks และมีโครงสร้างอย่างง่ายในการสร้างหน้าใหม่และการเชื่อมกันระหว่างหน้าภายในเว็บไซด์

2. ลักษณะสำคัญของ Wiki

1) เทคโนโลยีของวิกิวิกิเว็บเซิร์ฟเวอร์ (WikiWikiWeb Server) เป็นโครงสร้างไฮเปอร์เท็กซ์ แต่ละหน้าจะมีลิงก์เป็นจำนวนมากที่ลิงก์ไปยังหน้าอื่น

2) เน้นการทำงานแบบง่าย ซึ่งผู้เขียนสามารถสร้างเนื้อหาบนเว็บได้โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในภาษาเอชทีเอ็มแอล(HTML) โดยข้อมูลถูกเขียนร่วมกันด้วยภาษามาร์กอัป(MarkUp)อย่างง่ายโดยผ่านเว็บเบราว์เซอร์(Web Browser)ในแต่ละหน้าจะถูกเรียกว่า"หน้าวิกิ" และเนื้อหาภายในจะเชื่อมต่อกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ (Hyperlinks)ซึ่งส่งผลให้ในแต่ละวิกิสามารถทำงานผ่านระบบที่เรียบง่ายและสามารถใช้เป็นฐานข้อมูล สำหรับสืบค้น ดูแลรักษาที่ง่าย

นิยามลักษณะของเทคโนโลยีวิกิคือความง่ายในการสร้างและแก้ไขหน้าหน้าเว็บ โดยไม่จำเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหรือยืนยันจากเจ้าของเว็บนั้น

เว็บวิกิหลายแห่งเปิดให้ผู้ใช้บริการทั่วไปในขณะที่บางกรณี ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าวิกิ บนเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้อาจจะต้องล็อกอินเพื่อแก้ไข หรือเพื่ออ่านบางหน้า (http://th.wikipedia.org/wiki/Wiki)

3) ผู้ใช้งานไม่ต้องลงโปรแกรมเพิ่มเติมพิเศษ สามารถใช้งานผ่านเบราว์เซอร์ และผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ด้านเทคนิค

4) เป็นส่วนหนึ่งของ Web 2.0

* Web 2.0 เป็นคำที่ถูกคิดค้นขึ้นมาใหม่โดยทิม โอไรล์ลี่ย์ ( เพื่อใช้อธิบายถึงวิวัฒนาการในปัจจุบันของเว็บ จากที่เป็นแค่ผลรวมของเว็บไซต์หลายๆแห่ง มาเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการซอฟต์แวร์ผ่านเว็บให้กับผู้ใช้ ผู้ที่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้คาดว่าบริการต่างๆ บนเว็บ 2.0 จะมาแทนที่ซอฟต์แวร์แบบดั้งเดิมหลายๆ ประเภท

แม้จะยังไม่มีคำนิยามที่อธิบายถึงเว็บ 2.0 ได้ครอบคลุมที่สุด แต่หนึ่งในหลายตัวอย่างของความแตกต่างระหว่างเว็บ 1.0 และเว็บ 2.0 คือ การเปลี่ยนจากเว็บไซต์ที่มุ่งทำธุรกิจอย่างเดียวมาเป็นการมุ่งสร้างชุมชนหรือสังคมคนออนไลน์มากขึ้น เช่นการให้บริการซอฟต์แวร์ผ่านเว็บไซต์ การเปิดกว้างให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเผยแพร่คอนเทนท์ต่างๆ และการดาวน์โหลดข้อมูลแบบบิตทอร์เรนท์ เป็นต้น

3. ทำไม Wiki ถึงเป็นนวัตกรรมในการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง

รูปแบบการสอนที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไป เช่น การเรียนการสอนในชั้นเรียน การเรียนทางไกล หรือการเรียนทางอินเทอร์เน็ต การเรียนการสอนมักเป็นการถ่ายทอด หรือนำเสนอความคิดเพียงทางเดียว แม้การอภิปรายที่มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ก็เป็นลักษณะการให้ข้อมูล หรือความรู้เป็นของแต่ละคน การนำเทคโนโลยีของ Wiki มาใช้ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เกิดการขัดเกลา ผสมผสาน และการตรวจสอบ เกิดการสังเคราะห์ขึ้นเป็นความรู้ที่มาจากผู้เรียนหลายๆคน จึงถือได้ว่าเทคโนโลยี Wiki นับเป็นนวัตกรรมในการเรียนรู้รูปแบบหนึ่ง


ตัวอย่างหนึ่งของการนำ Wiki มาใช้ในการเรียนการสอน เป็นข้อความบรรยายตอนหนึ่ง แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ Wiki ของ ดร.วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ หัวหน้าหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (ข้อมูลจากเว็บไซต์ http://gotoknow.org/blog/thaikm/17330 )


ดร.วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ :


.....มีวิชาหนึ่งที่ดิฉันสอน ชื่อว่าคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเบื้องต้นที่ให้นักศึกษาเข้าใจศัพท์พื้นฐานในวงการออกแบบ การเขียนแบบด้วยวิชาคอมพิวเตอร์ โดยในคลาสนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท 12 คน เริ่มจากแนะนำให้เขารู้จักระบบ CMS (content management system ) เป็นระบบที่ใช้ในการจัดการเนื้อหา สามารถตั้งเป็น server ได้หลายรูปแบบด้วยกัน คือ weblog e-commerce e-learning จนกระทั่งมาถึง Wikipedia ซึ่งตรงนี้ได้นำมาใช้ในการออกแบบ ในการจัดการเนื้อหา หลังจากที่แนะนำ Wikipedia ให้เขารู้จักแล้ว ให้การบ้านไปเขียนใน Wikipedia โดยเขียนรายงานเกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจ 6 หัวข้อ ส่วนหัวข้อที่ 7 เป็นศัพท์ที่เกี่ยวข้องทางด้านคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรม ซึ่งตรงนี้ก็เป็นเทคนิคอันหนึ่ง คือให้เขาเขียนสิ่งที่เขาสนใจและเขารู้ ขอแค่หัวข้อเดียวเกี่ยวกับศัพท์ที่จะเรียน เนื่องจากนักศึกษาจำนวนหลายคน คนหนึ่งเข้าไปเขียนคนอื่นก็อ่านได้ เป็นตัวอย่างที่นักศึกษาสนใจ คือการ์ตูนที่วัยรุ่นสนใจ เช่น ปอมปอม มีคนเข้ามาช่วยกันแก้ สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ก่อนที่จะให้กลับไปเขียนที่บ้านก็มีการ train ในชั้นเรียนก่อน หน้า web เว็บของ Wikipedia มีส่วนที่เรียกว่ากระบะทราย จะทำอะไรก็ได้ แล้วจึงปล่อยเขาลงสนามจริง ๆ คิดว่าคงไม่ก่อกวน Wikipedia เท่าไหร่ หลังจากที่เขากลับไปเขียน ตอนแรกๆ นักศึกษาจะทำ link ตัวหนา ตัวเอียงไม่เป็นก็มีอาสาสมัครใจดีช่วยกันเข้ามาเขียน เมื่อผ่านการตรวจสอบ ตอนหลังก็จะได้ออกมาเป็นบทความที่สวยงามได้ ศัพท์ตรงนี้เป็นศัพท์ที่เราจะสอบปลายภาคอยู่แล้ว มีคนเข้ามาเขียนหลายหัวข้อด้วยกัน สรุปว่าประสบความสำเร็จดี ......


4. Wiki มีรูปแบบไหนบ้าง


การใช้งาน Wiki ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของคนเฉพาะกลุ่ม เช่น องค์กรหรือบริษัทที่ต้องการใช้งานWiki โดยทั่วไปแบ่งการใช้งาน Wiki เป็น 2 ประเภท

คือใช้งานในกลุ่มคนเฉพาะกลุ่ม และใช้งานเป็นสาธารณะบนอินเทอร์เน็ต


Wiki สามารถนำไปใช้งานได้หลายรูปแบบ เช่น สามารถใช้งานเป็นเครื่องมือจัดการกับองค์ความรู้ (Knowledge Management Tools) การวางแผนและจัดการกับเอกสารต่างๆ หรือใช้ในระบบจัดการข้อมูล (Content Management System) ใช้ในกระดานสนทนา (Discussion Board)


ปัจจุบันมีหลายองค์กรได้นำเทคโนโลยี Wiki ไปใช้ในด้านต่างๆ เช่น เป็นออร์แกไนเซอร์(Organizer)ภายในองค์กร การจัดการเรียนการสอน

ตัวอย่างระบบที่นำ Wiki มาใช้ เช่น

วิกิ engines พื้นฐานมีมากมายให้ผู้ใช้สามารถเลือกได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ แต่การใช้ซอพท์แวร์วิกิออนไลน์ผู้ใช้ต้องมี เซิพเวอร์/ฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถสามารถติดตั้งใช้ภายในองค์กร ซึ่งทำให้สามารถปรับรูปแบบการใช้ตามที่ต้องการได้ แต่ผู้ใช้จำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญในด้านนี้ตลอดจนการมีระบบรองรับการใช้งาน หรืออาจไปใช้บริการของ hosts ภายนอก ซึ่งมีทั้งแบบต้องเสียและไม่ต้องเสียค่าบริการ แต่วิกินี้ผู้ใช้ไม่ต้องมีความชำนาญพิเศษใดๆ

Challborn และ Reimann (2005) รายงานผลการทดสอบโปรแกรมวิกิที่น่าสนใจดังนี้

  • EditMe เป็นหนึ่งในซอพท์แวร์วิกิที่ใช้ง่ายที่สุด โดยสามารถใช้กับเว็บเบราเซอร์ Mozilla และ Internet Explorer ใช้รูปแบบ WYSIWYG (what-you-see-is-what-you-get) ผู้ใช้เพียงแต่สามารถใช้ word processor ได้ก็สามารถใช้ EditMe ได้แล้ว การอัพโหลดไฟล์ทำได้ง่ายเหมือนเวลาแนบไฟล์ไปในอีเมล์ มีหน้าต่างแยกสำหรับ comments ทำให้ผู้เข้ามาแก้ไขข้อความสามารถโต้ตอบกันได้ ผู้ใช้ต้องมี pass word ในการเข้าไปใช้ มีการบันทึกการแก้ไขและผู้ใช้สามารถเข้าไปดูการแก้ไขก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม EditMe ไม่สามารถใช้กับเว็บเบราเซอร์ Safari

  • Media Wiki จัดทำโดย Wikimedia Foundation ซึ่งเป็นองค์กรไม่ได้มุ่งแสวงหากำไร ใช้ภาษา PHP และใช้ MySQL โดยผู้ใช้ต้องเสียค่าบริการรายเดือน $15 ผู้ใช้สามารถนำมาปรับใช้ในองค์กรหรือใช้บริการของ hosts ภายนอก Media Wiki ใช้ engine ตัวเดียวกับ WikiPedia DisinfoPedia WikiQuote WikiBooks WikiTravel มี features มากมายให้เลือกใช้ ผู้สอนสามารถศึกษาและเลือกนำมาใช้ในการสอนได้ มี sidebar สามารถตรวจดูการเขียนและการแก้ไขของผู้ใช้แต่ละคน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับผู้สอนที่ต้องการตรวจดูว่ากลุ่มผู้เรียนแต่ละคนได้เข้ามาเขียนมากน้อยพียงไร การแก้ไขสามารถแยกเป็นส่วนๆได้ มีหน้าต่าง discussions แยกจากหน้าเขียนงาน สนับสนุน Unicode สามารถดูรูปแบบที่สั่งพิมพ์ได้ และมี RSS feeds แจ้งให้ผู้ใช้ทราบถึงการแก้ไขล่าสุด Media Wiki ยอมให้ผู้ดูแลระบบอนุญาตผู้ใช้ในระดับต่างๆกัน เช่นสามารถกำหนดการล็อคบางหน้า หรือยอมให้ผู้ใช้บางคนเข้าไปแก้ไขได้ในบางหน้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สอนที่ต้องการป้องกันไม่ให้เนื้อหาสูญหายหรือแก้ไขโดยผู้อื่นที่ไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้ ผู้ใช้สามารถอัพโหลดไฟล์และรูปภาพได้ด้วย ซึ่งในส่วนนี้ผู้สอนสามารถสั่งระงับการใช้งานได้ในกรณีที่จะป้องกันการอัพโหลดไฟล์ที่ไม่พึงประสงค์

  • Seedwiki เป็นบริการวิกิที่ผู้ใช้สามารถเลือกการเข้าใช้หลายแบบ แบบแรก “basic account”ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย การเข้าใช้ประกอบด้วย 3 วิกิและใช้เขียนงานได้ 50 หน้า แบบที่สอง “blue account” เสียค่าใช้จ่ายเดือนละ $9.95 สามารถใช้วิกิได้โดยไม่จำกัดจำนวนวิกิและจำนวนหน้า ผู้ใช้ต้องมี password แบบที่สาม “red account” เสียค่าใช้จ่ายเดือนละ $19.95 การเข้าใช้จะเหมือนแบบที่สอง แต่จะเพิ่ม features ว่าผู้ใช้ต้องเป็นสมาชิกเท่านั้น และยังสามารถใช้ฐานข้อมูลเพื่อสร้างการทำงานร่วมกันตามที่ต้องการได้ ไม่ว่าจะเป็นแบบใดไม่มีการจำกัดจำนวนผู้ใช้ Challborn และ Reimann (2005) ได้ทดสอบการเข้าใช้แบบที่หนึ่ง พบว่าใช้ง่าย การลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้สามารถทำได้โดยง่าย มีการป้องกันโดยใช้ password สำหรับหน้าหลัก รายชื่อผู้ใช้และรายชื่อของผู้ใช้ที่กำลังออนไลน์อยู่ ณ ขณะนั้น ผู้ใช้สามารถสร้าง Seedwiki พื้นฐาน โดยเพียงตั้งชื่อวิกิ ชื่อกลุ่มของวิกิและคำอธิบาย (เช่น กีฬา) เลือกภาษาที่ต้องการ ข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ และการยอมรับเงื่อนไขการใช้งาน เพียงเท่านี้หน้าแรกของวิกิจะปรากฏขึ้นมาทันที รวมถึงข้อมูลอื่นๆที่ผู้ใช้ต้องรู้เพื่อการทำงานบนวิกิ Seedwiki สามารถลิงก์กับเว็บเพจภายนอกได้ ส่งอีเมล์ และแนบไฟล์ชนิดต่างๆได้ (Word, Excel. PowerPoint) Seedwiki จะบันทึกข้อความของทุกๆหน้าที่ผู้ใช้เขียนขึ้น ยอมให้ผู้ใช้สามารถเรียกหน้าที่ลบไปแล้วกลับมาได้ มีส่วนของคำถามที่ผู้ใช้ถามบ่อยๆ แผนที่ไซด์และคู่มือการใช้ ผู้ใช้สามารถอีเมล์หรือโทรศัพท์ขอความช่วยเหลือโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ Seedwiki มี “sandbox” สำหรับการทดสอบและการฝึก และผู้ใช้สามารถขอความช่วยเหลือและคำแนะนำจากผู้พัฒนาระบบได้ Seedwiki เก็บข้อมูลในรูปของ Unicode และมี fonts หลายรูปแบบให้เลือก รวมทั้ง RSS feeds

  • Socialtext เป็นเครื่องมือสื่อสารที่ทำขึ้นสำหรับองค์กรธุรกิจ ใช้สำหรับการจัดตารางเวลา การบริหารโครงการและการแลกเปลี่ยนข้อมูล Socialtext เหมาะสำหรับงานที่ต้องร่วมกันทำ โดยมีให้ทั้งในส่วนของบล็อกและวิกิ แต่ผู้ใช้ต้องเสียค่าบริการ $30 ต่อเดือน ซึ่งเป็นอัตราค่อนข้างสูงสำหรับผู้ที่อยู่ในแวดวงการศึกษา ถึงแม้ว่าจะมีการให้ส่วนลดพิเศษกับองค์กรที่ไม่ได้มุ่งแสวงหากำไร Socialtext เป็นโปรแกรมที่มี features ระดับมืออาชีพที่ใช้ง่าย และมีส่วนสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือและสอนการใช้โปรแกรมด้วย

  • Swiki.net เป็นบริการชุมชนวิกิที่ผู้ใช้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ทำขึ้นโดยใช้แนวความคิด WikiWikiWeb ซึ่งพัฒนาโดย Ward Cunningham ขั้นตอนการเข้าใช้สะดวกง่ายดายใช้เวลาน้อยกว่า 1 นาที โดยใส่ชื่อผู้ใช้ อีเมล์ ข้อมูลส่วนตัว การยอมรับเงื่อนไขลิขสิทธิ์ และเลือกชื่อในการเข้าใช้ตลอดจน password ไม่ต้องดาวน์โหลดโปรแกรมใดๆทั้งสิ้น Swiki บันทึกข้อมูลได้ 25 MB สามารถใส่ภาพ แนบเอกสารและสร้างลิงค์ได้

    นอกจากนี้ยังมี WikkiTikkiTavi และ InterWiki

5. การนำ Wiki มาประยุกต์ในการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง

Duffy และ Bruns (2006) ได้เสนอการนำวิกิมาใช้ในการเรียนการสอนดังนี้

  • นักศึกษาสามารถใช้วิกิเป็นตัวเอกสารหลักในการร่วมกันพัฒนาโครงงานวิจัย

  • นักศึกษาสามารถใช้วิกิเป็นตัวเอกสารหลักในการเพิ่มบทสรุปความคิดของตนเองที่มีต่อรายการหนังสือที่ต้องอ่านประกอบการเรียนและร่วมกันเขียน annotated bibliography

  • ในการเรียนการสอนทางไกล ผู้สอนสามารถพิมพ์หลักสูตรของวิชา เอกสารประกอบการเรียนบนวิกิ โดยที่ผู้เรียนสามารถเพิ่มเติมเสนอความคิดเห็นของตนเองที่มีต่อวิชาที่เรียนไดโดยตรง

  • วิกิสามารถใช้เป็นฐานความรู้ของผู้สอน ในการร่วมกันสะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนในเรื่องต่างๆ ซึ่งสามารถนำมาจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการสืบค้นได้ในภายหลัง

  • วิกิสามารถนำมาใช้ในการสร้างกระบวนทัศน์ โดยวิธีการระดมสมอง เพราะจะเป็นตัวเชื่อมให้เกิดเครือข่ายของแหล่งข้อมูลต่างๆ

  • วิกิสามารถนำมาใช้แทนที่โปรแกรมในการนำเสนอ เช่น PowerPoint เพราะผู้เรียนสามารถร่วมกันเพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลในการนำเสนอได้ในเวลานั้นๆ

  • ใช้เป็นเครื่องมือในการเขียนร่วมกันเป็นกลุ่ม

  • ใช้ในการประเมินผลวิชาที่เรียน โดยผู้เรียนร่วมกันเขียนสิ่งที่แต่ละคนได้จากการเรียนวิชานั้นๆ

6. ข้อดีของ Wiki ในการนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง

1) สามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (collaboration) กับผู้เรียนด้วยกัน และกับผู้สอนได้เป็นอย่างดี สามารถแสดงความคิดเห็น และการให้ความไว้วางใจที่จะให้สมาชิกในกลุ่มสามารถที่จะแก้ไข ข้อมูลต่างๆ เพื่อที่จะให้บทความ หรือ ความรู้นั่นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ดร. ธวัชชัย ปิยะวัฒน์ (http://gotoknow.org/blog/memecoder/9220) ได้แสดงความเห็นดังนี้

......เจตนาการใช้งานวิกิก็เพื่อการเขียนเอกสารร่วมกัน (Collaborative Writing) โดยจัดเรียงเนื้อหาตามโครงสร้างของเอกสารนั้นๆ เอกสารที่เขียนอาจจะเป็นคู่มือในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีโครงสร้างสามารถเขียนร่วมกันและเชื่อมต่อหากันในเนื้อหาของเอกสารได้ ดังนั้นข้อดีของวิกิก็คือ ใช้เขียนเอกสารที่เนื้อหามีโครงสร้าง (Structured Contents) ร่วมกันได้ดี และเปิดโอกาสให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเอกสารที่มีโครงสร้างนั้นได้รวดเร็วทันต่อการเปลี่ยนแปลง.....

2) ส่งเสริมคุณธรรมให้กับผู้เรียน ในด้านความสามัคคี ความเสียสละ ความร่วมมือร่วมใจ ในการแบ่งปันความรู้

7. ข้อจำกัดของ Wiki ในการนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง

1) เอกสารที่เขียนต้องมีโครงสร้างที่ชัดเจนในระดับหนึ่งแล้วก่อนเปิดโอกาสให้มีการเขียนร่วมกันได้ มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาในการเชื่อมต่อและการจัดเรียงเนื้อหา (Structural Problems)

2) วิกิเหมาะต่อการสกัดความรู้ชัดแจ้งให้อยู่ในรูปเอกสารที่มีโครงสร้างที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริง นอกจากนี้ “วิกิ” ในภาพรวมยังหมายถึงไวยกรณ์ในการเขียนเนื้อหาเพื่อให้ปรากฎบนเว็บที่ง่ายกว่าการเขียนด้วยภาษา HTML ด้วย

3) การเขียนข้อความทีไม่เหมาะสม

เอกสารอ้างอิง

What is Wiki? http://www.wiki.org/wiki.cgi?WhatIsWiki Retrieved 4 มิถุนายน 2550
http://www.webopedia.com/TERM/w/wiki.html Retrieved 4 มิถุนายน 2550
http://en.wikipedia.org/wiki/Wiki Retrieved 4 มิถุนายน 2550
Challborn, C. & Reimann, T. (July 2005). Wiki products: a comparison. International Review of Research in Open and Distance Learning. 6(2). Retrieved 5 June 2007 from http://www.irrodl.org/index.php/irrodl/article/view/229/859
Augar, N., Raitman, R. & Zhou, W. (2004). Teaching and learning online with wikis. Proceedings of the 21st ASCILTTE Conference 2004. Retrieved 5 June 2007 from http://www.ascilite.org.au/conferences/perth04/procs/pdf/augar.pdf
Duffy, P. & Bruns, A. (2006). The use of blogs, wikis and RSS in education: a conversation of possibilities. Proceedings of the Online Learning and Teaching Conference 2006. Retrieved 6 June 2007 from https://olt.qut.edu.au/udf/OLT2006/gen/static/papers/Duffy_OLT2006_paper.pdf2006/gen/static/papers/Duffy_OLT2006_paper.pdf

วันอังคารที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2552

An Online Course Development Approach Based on Bloom's Taxonomy

An Online Course Development Approach Based on Bloom's Taxonomy
by mpuzziferro

What exactly is an “online course?” How can a high-quality online course be developed? There are many templates, approaches, ideas, and models available for faculty to guide online course development. One such model that is used at CSU-Global Campus looks at online course design in the context of a learning process, derived from Bloom’s Taxonomy. We feel that this framework helps subject matter experts and designers to frame content learning goals in the context of higher-level learning processes.

We all love Bloom’s Taxonomy! Bloom’s Taxonomy compels us to remember that there isn’t a cosmic battle between instructivist technique (focused on content mastery) and constructivist technique (focused on critical thinking and knowledge constructivism). Bloom forces us to think about stages of learning – knowledge, comprehension, application, analysis, synthesis and evaluation – all equally valued.

Derived from Bloom’s taxonomy, students learn by: a) mastering information, such as key concepts, terms and ideas through exposure to the information and recall, b)progressively grasping the information by practicing learning activities that focus on recall, trial-and-error, and building the vocabulary and comprehension of the information,c) applying the information to a problem-based situation that can be collaborative, d) analyzing the problem further by deconstructing the information and reconstructing it into a solution,e) by applying and analyzing the information, begin to recognize the patterns or relationships between the information and the problem,f) creating new knowledge and the ability to reason about the information and apply it practically to situations.

At CSU-Global Campus, each course development project is approached within the framework of “Active Mastery Learning” to reinforce to faculty the systematic elements of a learning process. Thus, our online learning model utilizes instructivist techniques, such as mastery learning, to guide students to fully grasp terms/concepts (content), and then employs constructivist techniques to engage students to apply the information in collaborative contexts. The expectation is that all learning activities foster the highest degree of instructor-student, student-content, and student-student interaction, with consideration of the particular discipline and course objectives.

To help reinforce this process, we encourage faculty in the design process to think about 5 activity/assessment types: Check Your Understanding – Providing learners an opportunity to check their knowledge and comprehension on course content is an important aspect of mastery learning. All courses at CSU-Global Campus have Check Your Understanding activities embedded in each module that provide learners with a quick, easy and low-stakes way to check their understanding of course content.

Master the Learning Outcomes – CSU-Global Campus course incorporate a mastery approach to learning at the lower levels of Bloom’s Taxonomy. Mastery activities provide learners with an opportunity to demonstrate their mastery of the learning outcomes. Apply Your Knowledge – Application of knowledge is an important step in the learning experience and every CSU-Global Campus course has key activities where students can demonstrate application and analysis of content as well as move towards synthesis.

Each course has four key multi-module Discussion Forums that provide learners an extended opportunity to interact with one another in an instructor facilitated dialogue that focuses on key course themes. These course discussions span multiple modules and learners are encouraged to continue their discussions in each forum throughout the course.

Analyze the Concepts – Courses also have critical thinking activities where learners are expected to apply, analyze, and begin to synthesize course content. These activities, typically two to five per course, are developed by content experts and span module content. They can include such activities as group projects, analysis papers, and online presentations.

Expand Your Capabilities – Most course have a culminating project that is portfolio-quality, and designed to require learner to expand their knowledge and capabilities through combining knowledge and application of content with their own interpretation and judgment. After the completion of the course, these projects may become artifacts in the learner’s individual program portfolio.

Source: http://www.sloan-c.org/node/1547

วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2552

Web 2.0 & Language Learning

Web 2.0 & Language Learning

Presentation of Web 2.0 for educators interested in language learning and emerging technologies

http://www.youtube.com/watch?v=F1IRkqbUoXY

Web 2.0 for EFL / ESL Teachers

This is a recording of a presentation prepared by Nik Peachey for teacher trainers in Morocco. It was an attempt to explain what Web2.0 was all about and give them some insight into how it was changing the way the web for education and EFL / ESL teaching is used.

http://www.youtube.com/watch?v=NfpkVYXpvyE&feature=related

วันอาทิตย์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2552

What are RSS Feeds?

It seems as if RSS feeds are taking the Internet by storm these days. Everywhere Internet surfers look, websites and weblogs (also known simply as blogs) are inviting them to subscribe to their RSS feeds.

RSS stands for "Really Simple Syndication." Very simply put, an Internet surfer can subscribe to RSS feeds that are broadcast from the websites and blogs that they find interesting or useful. RSS feeds are an excellent way to keep up with constant changing information such as news, opinion editorials, and even the latest prices on consumables.

The RSS feed icon has quickly become the universal standard to show website visitors that a website has a feed available for subscription. There are other icons, but almost any user-friendly website or blog will display the icon to the left in addition to any lesser known icons.
To subscribe to an RSS feed, typically all the user has to do is click on the icon and a new page will display in their browser. The user will then copy the feed URL located in their browser's URL window and paste it into their RSS feed aggregator of choice.

Source: http://www.tech-faq.com/rss-feeds.shtml

What are Widgets?

In the ever-increasing race to create a more user-friendly World Wide Web experience by expanding options for internet users, the opposite outcome can happen by isolating many users with complex internet functions, programs, and terminology. So it is nice to see that the internet user experience is getting easier and less complicated in some ways. One of these ways is with the implementation and use of widgets.

The term "widget" can refer to any icon or graphical interface element that is manipulated by the computer or internet user to perform a desired function online or on their computer. For example, the icons located on a personal computer's desktop are considered widgets. By clicking or manipulating the widget in some way with the mouse or keyboard, the user is able to interact with the computer or website, essentially "telling" it to perform desired functions.

User-friendly websites are increasing their use of widgets to simplify and enhance the internet user's experience. Buttons, drop-down menus, and basically any other element located on a web page that is able to be manipulated by the user to perform a function is considered a widget. There are hundreds of thousands of people logging on to the World Wide Web for the first time each day. Almost none of them are going to be particularly "tech-savvy" on their first experience so simplifying websites' usability is imperative.

Some more examples of widgets:
Stock tickers
Media player buttons
Web browser controls
Email function controls
Social-networking sites that enable information sharing
RSS feed icons
Interactive graphs, charts, and other statistical media

Widgets are typically pieces of programming code embedded in an image file. They can be set up to react to mouse clicks, mouse rollovers, and keyboard commands from the computer or internet user. Since users demand simplicity with increased functionality, it is important to note that the use of widgets is becoming more widespread and the term encompasses more functions as new methods of user-interface manipulation become available.

Widgets have been strongly embraced by webmasters, web companies, and internet users that champion the new Web 2.0 format of websites. As Web 2.0 websites grow in popularity, the trend for user experience simplicity and functionality will grow. Widgets will play an ever-increasing role in allowing users to share, store, and create information on the World Wide Web.

Source: http://www.tech-faq.com/widgets.shtml

What is Web 2.0?

The term "Web 2.0" was coined sometime in 2004 in an effort to identify, classify and describe the current structure of the web. Particularly the developments in Internet structure after the dotcom crash of 2001. The dotcom crash heralded the "end" of one phase of the Internet. Like software improvements or upgrades, there was a new "version" of the Internet, "Web 2.0" which was built on the old version but with new applications and approaches.

Key Elements of Web 2.0

Web 2.0 has the following key elements:

The web is the platform for all Internet-connected devices

Although this has been the rallying cry of many companies, especially Netscape, in the pre-dotcom crash, the "old" definition was limited in its view of what constituted a connected 'device'. In "Web 1.0", "connected devices" referred to computers only. Today's web we are seeing the convergence of various devices, including such media staples as radio and television, as well as the movement towards true Internet mobility with mobile phones, PDAs and laptop computers become a single device linked through a network of wireless Internet connections.

User participation is essential.

To a large extent Web 2.0 is all about Internet users, unlike Web 1.0, where the focus of attention was on the companies and people behind the different websites on the Internet. Note also that "social networking" got a boost from the entry of new software and applications which had user participation at its core; Google, MySpace, YouTube, Flickr, Friendster, and so on.
Ease of data transfer and availability of data-transfer and data-sharing services are apparent.

Internet users of the 1990s remember a time when the web was all about text and line graphics; uploading and downloading pictures was a slow and cumbersome process. "Sharing" music took several hours to complete all the while tying up your telephone resources for that span of time, and no one would even dream of uploading home videos because of the bandwidth usage, time spent, and resources required to uploading them.

Compare that to today's world-wide web where broadband is the standard, and there are any number of sites where audio, video and graphics files are uploaded, downloaded and exchanged with a minimum of fuss and bother.

The bottom line is: "Web 2.0" is a term which describes the current state of the Internet which has evolved from what it was before; a collection of staid, static websites mostly put up by companies and people wishing to advertise, promote, and market their wares and knowledge on the web into what it is now: a veritable meeting ground of ideas and information not limited by bandwidth and storage restrictions as it was in the past. In fact, most collaboration and sharing now includes audio, video, animation and other formats found to be unusable in the 1990s.

Web 2.0 describes an Internet where people and users from different cultures interact and whose use of the Internet's applications and information add value to such application and content. Web 2.0 is an Internet whose power mainly lies in the hands of its users.

Source: http://www.tech-faq.com/web-2.0.shtml

What Is Web 2.0
Design Patterns and Business Models for the Next Generation of Software
by Tim O'Reilly09/30/2005

Source: http://www.oreillynet.com/pub/a/oreilly/tim/news/2005/09/30/what-is-web-20.html

What is Web 2.0?
http://www.youtube.com/watch?v=0LzQIUANnHc&feature=related